เว็บไซต์สำหรับเก็บผลงานประเมิน PA
นางกัญญดา จันเซ่ง
ตำแหน่ง ครู
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี))๒
ปีการศึกษา 2567
เว็บไซต์สำหรับเก็บผลงานประเมิน PA
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 15.77 ชั่วโมง ..-.... นาที/สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาอัจฉริยภาพเคมี จำนวน 3.32 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา วิทยาศาสตร์ จำนวน 3.32 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา เคมี จำนวน 7.47 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมสาธารณประโยชน์ จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 6 ชั่วโมง /สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 7.33 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 16.60 ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา วิทยาศาสตร์กายภาพเคมี จำนวน 9.96 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา วิทยาศาสตร์ จำนวน 4.98 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมสาธารณประโยชน์ จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 6 ชั่วโมง /สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 7.33ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 6 ชั่วโมง /สัปดาห์
เอกสารกำหนดชั่วโมง
พัฒนาของโรงเรียน
ไฟล์ข้อตกลง PA
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2567
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 15.77 ชั่วโมง /สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา อัจฉริยภาพเคมี จำนวน 1.66 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาวิทยาศาสตร์ ม.ต้น จำนวน 4.98 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา เคมี ม.4ิ จำนวน 7.47 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมสาธารณประโยชน์ จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 7.47 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 6 ชั่วโมง /สัปดาห์
เป้าหมายเชิงปริมาณ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 จำนวน
43 คน ได้รับการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยมีผลสัมฤิทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
เป้าหมายคุณภาพ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 จำนวน
43 คน มีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการเกิดปฏิกิริยาเคมี และสามารถนำความรู้ไปใช้ในการศึกษาในระดับที่สูงขึ้นได้
ประเด็นท้าทายเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมีด้วยการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้และการเรียนแบบห้องเรียนกลับด้าน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ด้านการจัดการเรียนรู้
2.1 การจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา
2.2 ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
2.3 ปฏิบัติงานวิชาการและงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา
2.4 ประสานความร่วมมือผู้ปกครอง ภาคีเครือข่ายและหรือสถานประกอบการ
ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
การเข้าร่วมอบรมและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง